กระจกเสริมลวด

กระจกเสริมลวด

กระจกเสริมลวด 
“เกราะกันอัคคีภัย และการแตกร่วงหล่น”

กระจกเสริมลวดอาซาฮี เป็นกระจกที่พลิตด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยจาก บริษัท อาซาอีกลาส แห่งประเทศญี่ปุ่น ด้วยคุณลักษณะของเส้นลวด ที่ฟังอยู่ในเนื้อกระจกทำให้กระจกเสริมลวดมีคุณสมบัติพิเศษในการต้านทานการแตกหลุดร่วงของแผ่นกระจก และป้องกันการสุทลาม ของเปลวไฟ และควันไฟ นอกจากนี้เส้นลวดที่ฟังอยู่ในเนื้อกระจกทำให้รู้สึกว่าสามารถป้องกันขโมยได้

คุณสมบัติ
– ทนความร้อน
กระจกเสริมลวดได้ผ่านการทสอบแล้วว่ามีคุณสมบัติแห่งการคงอยู่ของโครงสร้างที่สามารถต้านเพลิงได้ที่อุณหภูมิสูงถึง 925 องศาเซลเซียส นานมากกว่า 1 ชั่วโมง

– เกราะกันเปดวไฟและควันไฟ
เมื่อกระจกเสริมลวดมีการแตกเกิดขึ้น เส้นลวดที่ฝังอยู่ในเนื้อกระจกจะทำหน้าที่เกาะยึดชิ้นส่วนกระจกไว้ ทำให้กระจกไม่หลุดร่วง เป็นการป้องกันการกิดช่องที่แผ่นกระจก สกัดกั้นการตุกตามของเปลวไฟและควันไฟต่อไปยังส่วนอื่น

– เกราะกันการแตกกระจาย
กระจกเสริมลวดที่แตก ไม่ว่าจากกรแตกด้วยความร้อน แตกด้วยการถูกวัตถุมากระทำ หรือแดกอันเนื่องมาจากแผ่นตินไหว ด้วยคุณสมบัติพิเศษของกระจกเสริมดวด กระจกจะไม่หลุดร่วงเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย ดังนั้นจึงทำให้โอกาสที่จะได้รับอันตราย หรือบาดเจ็บจากกระจกจะมีน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับการแตกของกระจกทั่วไป

– ป้องกันขโมย
ด้วยคุณสมบัติที่ยากต่อการทะอุทะลวงมากกว่ากระจกแผ่นธรรมตากระจกเสริมลวดจึงเสมือนเป็นอุปสรรคต่อการลักลอบผ่านเข้าออก จึงมีผลทางจิตวิทยาว่าสามารถป้องกันขโมยได้


การใช้งาน
– ใช้กับบริเวณทางเช้า-ออกอาคาร ที่อาจมีการกระจายของเหลิง หรือกลุ่มควัน ปัจจุบันอาคารสูงที่ให้ความสำคัญในต้านมาตรฐานความปลอดภัยจึงนิยมใช้กระจกเสริมลวดคิดตั้งในบริเวณตังกล่าว

– ใช้กับบริเวณทางเดินหนีไฟ หรือในบริเวณที่ถูกกำหนดไว้เป็นพื้นที่ป้องกันไฟ

– ใช้กับบริเวณพดาน เพดานสูงเปิดรับแสง หรี่อผนังอาคาที่ทำด้วยกระจกที่อาจมีการแตกและหลุดร่วงของขึ้นกระจก จึงใช้กระจกเสริมลวดติดตั้งในบริเวณดังกล่าว

– ใช้กับบริเวณที่ต้องการความปลอดภัยมากขึ้น เช่น บริเวณรับ-จ่ายเงิน บริเวณเก็บวัสดุไวไฟ

ข้อควรระวัง และคำเตือน
-เมื่อตัดกระจกเสริมลวด เส้นลวดจะถูกตัดขาดความทนทานของขอบจะลดลง จึงอาจเป็นสาเหตุทำให้กระจกแตกได้ง่ายขึ้น
-ขอบกระจกด้านที่โดนตัดอาจทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อร่างกายได้
-พื้นที่ของขอบและของผิวเส้นลวดด้านที่โดนตัดต้องได้รับการเตรียมป้องกันการเกิดสนิม โดยการทาขอบกระจกด้วยสีหรือน้ำยากันสนิมทุกค รั้งควรระมัดระวังสภาวะการใช้งานโดยเฉพาะความขึ้นอันจะทำปฏิกิริยาให้เกิดสนิมกับเส้นลวด ที่จะทำให้เส้นลวดพอง เกิดรอยแตกตรงขอบ และทำให้ความแข็งแรงของขอบลดลง ง่ายต่อการแตกจากความร้อน

 

ข้อควรระวังสำหรับ การออกแบบและติดตั้ง

ตั้งตามกระบวนการติดต์ ตั้งกระจกเสริมลวด
– กระจกเสริมลวดอาจจะยากต่อการตัด แต่ควรตัดกระจกให้เรียบร้อยมากที่สุด
– สำหรับการฝนขอบ ใช้เครื่องฝนด้วยความคมที่เกรด 120 หรือน้อยกว่า
– กระจกเสริมลวดที่ติดตั้งในเพดานอาคารหรือสระว่ายน้ำ ที่สัมผัสกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมหรือยากแก่การบำรุงรักษา
– ควรศึกษาอย่างละเอียดในการป้องกันการแตกจากการเป็นสนิม

 

ข้อควรระวังสำหรับ การใช้งานและการบำรุงรักษา

– การแผ่ความร้อนของอุปกรณ์ความร้อน เครื่องทำน้ำอุ่น เตาหุงต้ม อาจทำให้กระจกเสริมลวดแตกได้ หลีกเลี่ยงไม่ให้อุปกรณ์สัมผัสโดยตรงกับกระจกเสริมลวด
– ผ้าม่านที่หนา หรือเฟอร์นิเจอร์ที่วางพิงกับกระจกเสริมลวด อาจสะสมความร้อน และทำให้กระจกเสริมลวดแตกได้

ข้อควรระวังสำหรับ การเข้ากรอบและการติดตั้งกระจกเสริมลวด
ใช้กับกรอบหน้าต่าง ประตูที่น้ำไม่ขังเท่านั้น ตามมาตรฐานการติดตั้งกับอาคาร
ใช้วัสดุยาแนวที่มีคุณภาพ (ต้องไม่มีกรดอะเซติกเป็นองค์ประกอบ) เพื่อให้แน่ใจว่าขอบกระจกได้รับการป้องกันการเปียกน้ำ
– ใช้ Polyethylene Foam หรือ Chloroprene Rubber เป็นวัสดุรองรับเมื่อทำการยาแนวขณะติดตั้ง
– วัสดุรองกระจก 2 ตำแหน่ง บริเวณร่องกรอบด้านล่าง ควรเป็น PVC คุณภาพอย่างดี หรือเป็นยาง Chloroprene ที่มีความแข็งขั้นต่ำ 90 ดีกรี
– การเข้ากรอบด้วยขอบยาง ไม่เหมาะกับกระจกเสริมลวด เนื่องจากไม่สามารถกันน้ำได้ ซึ่งเป็นสาเหตุการเกิดสนิมของลวดบริเวณชอบนำไปสู่สาเหตุการแตกของกระจกเสริมลวด แต่ถ้าจำเป็นต้องใช้ควรศึกษากรรมวิธีป้องกันการเป็นสนิมดังต่อไปนี้ทาสีกันสนิมสำหรับกระจกเสริมลวดทาน้ำมันกันสนิม เช่น Mobil Metal Guard#831 ติดตั้ง ButyI Rubber Tape

หมวดหมู่: